free page hit counter

สำนักงานที่ปรึกษาการเกษตรต่างประเทศ ประจำสหภาพยุโรป

Office of Agricultural Affairs | Royal Thai Embassy, Brussels
HomeRegulationสหภาพยุโรปปรับปริมาณสารตกค้างสูงสุด (MRLs) ของสารปราบศัตรูพืชในสินค้าพืชและสัตว์

สหภาพยุโรปปรับปริมาณสารตกค้างสูงสุด (MRLs) ของสารปราบศัตรูพืชในสินค้าพืชและสัตว์

Featured Image by Guillaume Périgois on Unsplash

คณะกรรมาธิการยุโรปประกาศ Commission Regulation (EU) 2021/590 ว่าด้วย การปรับปริมาณสารตกค้างสูงสุด (MRLs) ของสารปราบศัตรูพืช 13 รายการ ได้แก่ สาร aclonifen สาร boscalid นมวัว (cow milk) สาร etofenprox สาร ferric pyrophosphate สาร L-cysteine สาร lambda-cyhalothrin สาร maleic hydrazide สาร mefentrifluconazole สาร sodium 5-nitroguaiacolate สาร sodium o-nitrophenolate สาร sodium p-nitrophenolate และสาร triclopyr ในสินค้าพืชและสัตว์ ใน EU Official Journal L 125/15 โดยมีรายละเอียดดังนี้

  1. สาร aclonifen ปรับค่า MRLs เนื่องจากมีการขออนุญาตใช้สารดังกล่าวตาม Regulation (EC) No 396/2005 มาตรา 6(1) ดังนี้
    1. พริกหวาน/พริกหยวก ที่ระดับ 0,02 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
    2. ชาสมุนไพร ที่ระดับ 0,08 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
    3. เครื่องเทศ ที่ระดับ 0,01 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
  2. สาร boscalid ปรับค่า MRLs เนื่องจากมีการขออนุญาตใช้สารดังกล่าวตาม Regulation (EC) No 396/2005 มาตรา 6(1) ดังนี้
    1. ทับทิม ที่ระดับ 2 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
    2. น้ำผึ้ง และผลิตภัณฑ์จากผึ้งอื่น ๆ (เนื่องจากมีการใช้สารดังกล่าวในเรฟซีด) ที่ระดับ 0,15 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
  3. สาร etofenprox ปรับค่า MRLs เนื่องจากมีการขออนุญาตใช้สารดังกล่าวตาม Regulation (EC) No 396/2005 มาตรา 6(1) ดังนี้
    1. พลัม ที่ระดับ 0,2 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
  4. สาร lambda-cyhalothrin ปรับค่า MRLs เนื่องจากมีการขออนุญาตใช้สารดังกล่าวตาม Regulation (EC) No 396/2005 มาตรา 6(1) ดังนี้
    1. เครื่องเทศเมล็ด (seed spices) ที่ระดับ 0,3 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
    2. เครื่องเทศจากผลไม้ (fruit spices) ที่ระดับ 0,3 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
  5. สาร maleic hydrazide ปรับค่า MRLs เนื่องจากมีการขออนุญาตใช้สารดังกล่าวตาม Regulation (EC) No 396/2005 มาตรา 6(1) ดังนี้
    1. รากชิโครี ที่ระดับ 30 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
  6. สาร mefentrifluconazole ปรับค่า MRLs เนื่องจากมีการขออนุญาตใช้สารดังกล่าวตาม Regulation (EC) No 396/2005 มาตรา 6(1) ดังนี้
    1. โพมฟรุ๊ต (pome fruits) ที่ระดับ 0,4 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
    2. เอพริคอต ที่ระดับ 0,7 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
    3. เชอร์รี ที่ระดับ 2 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
    4. พีช ที่ระดับ 0,7 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
    5. พลัม ที่ระดับ 0,5 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
    6. องุ่น ที่ระดับ 0,9 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
    7. มันฝรั่ง ที่ระดับ 0,01 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
    8. ข้าวโพดหวาน ที่ระดับ 0,01 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
    9. ข้าวโพด ที่ระดับ 0,01 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
    10. เมล็ดทานตะวัน ที่ระดับ 0,05 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
    11. เรฟซีด ที่ระดับ 0,06 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
    12. เมล็ดคาโนลา ที่ระดับ 0,06 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
    13. รากบีทน้ำตาล ที่ระดับ 0,06 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
      • ทั้งนี้ ให้ปรับเพิ่มค่า MRLs ในสินค้าที่มีแหล่งกำเนิดจากสัตว์บางประเภท อาทิ
        • ตับสุกร ที่ระดับ 0,015 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
        • ไตวัว ที่ระดับ 0,15 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
        • นมวัว ที่ระดับ 0,03 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
        • นมแกะ ที่ระดับ 0,04 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
        • นมแพะ ที่ระดับ 0,04 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
  7. สาร sodium 5-nitroguaiacolate ปรับค่า MRLs เนื่องจากมีการขออนุญาตใช้สารดังกล่าวตาม Regulation (EC) No 396/2005 มาตรา 6(1) ดังนี้
    1. องุ่น ที่ระดับ 0,03 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
    2. สตรอว์เบอร์รี ที่ระดับ 0,03 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
    1. แรสเบอร์รี ที่ระดับ 0,03 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
    2. เคอร์แรนท์ (ดำ แดง และขาว) ที่ระดับ 0,03 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
    3. ข้าวโพด ที่ระดับ 0,03 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
    4. ข้าว ที่ระดับ 0,03 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
    5. ข้าวสาลี ที่ระดับ 0,03 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
    6. ฮอพ ที่ระดับ 0,3 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
  8. สาร sodium o-nitrophenolate ปรับค่า MRLs เนื่องจากมีการขออนุญาตใช้สารดังกล่าวตาม Regulation (EC) No 396/2005 มาตรา 6(1) ดังนี้
    1. องุ่น ที่ระดับ 0,03 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
    2. สตรอว์เบอร์รี ที่ระดับ 0,03 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
    3. แรสเบอร์รี ที่ระดับ 0,03 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
    4. เคอร์แรนท์ (ดำ แดง และขาว) ที่ระดับ 0,03 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
    5. ข้าวโพด ที่ระดับ 0,03 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
    6. ข้าว ที่ระดับ 0,03 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
    7. ข้าวสาลี ที่ระดับ 0,03 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
    8. ฮอพ ที่ระดับ 0,3 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
  9. สาร sodium p-nitrophenolate ปรับค่า MRLs เนื่องจากมีการขออนุญาตใช้สารดังกล่าวตาม Regulation (EC) No 396/2005 มาตรา 6(1) ดังนี้
    1. องุ่น ที่ระดับ 0,03 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
    2. สตรอว์เบอร์รี ที่ระดับ 0,03 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
    3. แรสเบอร์รี ที่ระดับ 0,03 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
    4. เคอร์แรนท์ (ดำ แดง และขาว) ที่ระดับ 0,03 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
    5. ข้าวโพด ที่ระดับ 0,03 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
    6. ข้าว ที่ระดับ 0,03 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
    7. ข้าวสาลี ที่ระดับ 0,03 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
    8. ฮอพ ที่ระดับ 0,3 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
  10. สาร triclopyr ปรับค่า MRLs เนื่องจากมีการขออนุญาตใช้สารดังกล่าวตาม Regulation (EC) No 396/2005 มาตรา 6(1) ดังนี้
    1. กีวี ที่ระดับ 0,15 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
  11. สาร ferric pyrophosphate กำหนดให้บรรจุอยู่ใน Commission Regulation (EC) No 396/2005 ภาคผนวก IV
  12. สาร L-cysteine กำหนดให้บรรจุอยู่ใน Commission Regulation (EC) No 396/2005 ภาคผนวก IV
  13. สาร L-cysteine กำหนดให้บรรจุอยู่ใน Commission Regulation (EC) No 396/2005 ภาคผนวก IV
  14. กฎระเบียบดังกล่าวมีผลบังคับใช้ 20 วันหลังจากที่ประกาศใน EU Official Journal (ประกาศ ณ วันที่ 13 เมษายน 2564) ทั้งนี้ รายละเอียดของกฎระเบียบดังกล่าวสามารถสืบค้นเพิ่มเติมได้จากเว็บไซต์ดังนี้ https://eur-lex.europa.eu/legal-content/EN/TXT/PDF/?uri=CELEX:32021R0590&from=EN